Formula

Quality control

  • การหาค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล (x̄)

    Σ คือ ผลรวมของสมาชิกในชุดข้อมูล

    x คือ ค่าข้อมูลแต่ละตัวในชุดข้อมูล

    n คือ จำนวนของชุดข้อมูล

  • การหาค่า Averange Moving Range (AMR)

    Σ คือ ผลรวมของสมาชิกในชุดข้อมูล

    x คือ ค่าข้อมูลแต่ละตัวในชุดข้อมูล

    w คือ ค่าความกว้างของชุดข้อมูล

    i คือ ลำดับของข้อมูล

    n คือ จำนวนของชุดข้อมูล

  • การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ใช้ในการหา PPK (SD)

    Σ คือ ผลรวมของสมาชิกในชุดข้อมูล

    x คือ ค่าข้อมูลแต่ละตัวในชุดข้อมูล

    x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

    n คือ จำนวนของชุดข้อมูล

  • การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ใช้ในการหา CPK (SD)

    AMR คือ ค่า Averange Moving Range

    d คือ ค่าคงที่สำหรับการควบคุมกระบวนการ

  • การหาค่า PPL และ CPL

    UCL คือ Upper Control Limit หรือขีดความสามารถสูงสุดในกระบวนการควบคุมคุณภาพ

    x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

    SD คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  • การหาค่า PPU และ CPU

    LCL คือ Lower Control Limit หรือขีดจำกัดต่ำสุดในกระบวนการควบคุมคุณภาพ

    x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

    SD คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  • การหาค่า Process Potential (PP) และ Capability Process (CP)

    UCL คือ Upper Control Limit หรือขีดความสามารถสูงสุดในกระบวนการควบคุมคุณภาพ

    LCL คือ Lower Control Limit หรือขีดจำกัดต่ำสุดในกระบวนการควบคุมคุณภาพ

    SD คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  • การหาค่า Process Performance Index (PPK)

  • การหาค่า Process Capability Index (CPK)

X-Bar Chart

  • กรณีความกว้างของชุดข้อมูลเท่ากับ 1

    • การหาค่า UCL

      x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

      MR-bar คือ ค่าเฉลี่ยของตัวประมาณค่าพิสัย (R)

    • การหาค่า CL

      x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

    • การหาค่า LCL

      x̄ คือ ค่าเฉลี่ยของชุดข้อมูล

      MR-bar คือ ค่าเฉลี่ยของตัวประมาณค่าพิสัย (R)

  • กรณีความกว้างของชุดข้อมูลเท่ากับ 2 ถึง 10

    • การหาค่า UCL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

      A2 คือ ค่าคงที่จากตาราง

      R̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าพิสัย

    • การหาค่า CL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

    • การหาค่า LCL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

      A2 คือ ค่าคงที่จากตาราง

      R̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าพิสัย

  • กรณีความกว้างของชุดข้อมูลเท่ากับ 10 ถึง 25

    • การหาค่า UCL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

      A3 คือ ค่าคงที่จากตาราง

      s̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

    • การหาค่า CL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

    • การหาค่า LCL

      x̄̄ คือ ค่าเฉลี่ยของ x̄

      A3 คือ ค่าคงที่จากตาราง

      s̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

MR Chart

  • การหาค่า MR-Bar

    x คือ ค่าของชุดข้อมูล

    n คือ จำนวนของชุดข้อมูล

    i คือ ลำดับของชุดข้อมูล

  • การหาค่า UCL

    D4 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    MR-bar คือ ค่าเฉลี่ยของตัวประมาณค่าพิสัย (R)

  • การหาค่า CL

    MR-bar คือ ค่าเฉลี่ยของตัวประมาณค่าพิสัย (R)

  • การหาค่า LCL

    D3 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    MR-bar คือ ค่าเฉลี่ยของตัวประมาณค่าพิสัย (R)

R Chart

  • การหาค่าพิสัยของชุดข้อมูล (R)

    x max คือ ค่าที่มากที่สุดของชุดข้อมูล

    x min คือ ค่าที่น้อยที่สุดของชุดข้อมูล

  • การหาค่า R-Bar

    R คือ ค่าพิสัยของชุดข้อมูล

    n คือ จำนวนของชุดข้อมูล

  • การหาค่า UCL

    D4 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    R̄ คือ ค่าเฉลี่ยของพิสัย (R)

  • การหาค่า CL

    R̄ คือ ค่าเฉลี่ยของพิสัย (R)

  • การหาค่า LCL

    D3 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    R̄ คือ ค่าเฉลี่ยของพิสัย (R)

S Chart

  • การหาค่า UCL

    B4 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    s̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  • การหาค่า CL

    s̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  • การหาค่า LCL

    B3 คือ ค่าคงที่จากตาราง

    s̄ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Table Constant